ติดตั้ง
อินเตอร์เน็ต
โรงพยาบาล

ติดต่อสอบถาม หรือ ปรึกษาฟรี
คุณนพดล อารีย์เดช
  • 083-011-0911

ติดตั้ง อินเตอร์เน็ต อพาร์ทเม้นท์ หอพัก โรงแรม โรงงาน สถานศึกษา โรงพยาบาล

บริการติดตั้ง อินเตอร์เน็ต อพาร์ทเม้นท์ หอพัก โรงแรม โรงงาน สถานศึกษา โรงพยาบาล
รองรับ พรบ. คอมพิวเตอร์ ตามกฎหมาย
บริการสำรวจหน้างาน ฟรี ! ! !

  • Easy2Wifi คือ ระบบ WiFi Hotspot สำหรับ อพาร์ทเม้นต์, โรงแรม, ร้านกาแฟ สามารถจัดเก็บ Log การใช้งาน Internet ตาม พรบ. คอมพิวเตอร์ รองรับการใช้งานอุปกรณ์ทุกประเภ
  • Easy2Wifi มีบริการสำรวจหน้างาน ฟรี ! ! ! มีหน้า Log in ที่สวยงาม บริการออกแบบหน้า Log in ฟรี ! ! ! สามารถออกคูปองเพื่อใช้ในการขาย รวมถึงสามารถติดตั้งเองได้ ใช้งานได้ทั้งระบบ LAN และ Wireless

ช่างนพดล 083-011-0911
รับติดตั้ง วางระบบอินเตอร์เน็ต Hotspot WiFi หอพัก คอนโด โรงแรม
  • WiFi Hotspot คือ จุดกระจายสัญญาณอินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย (WiFi) ในปัจจุบันเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายเป็นจำนวนมาก ในบางสถานที่จะถูกติดตั้งเป็นระบบ LAN , Fiber Optic ขึ้นอยู่กับสถานที่และรูปแบบการใช้งาน เหมาะสำหรับติดตั้งในโรงแรม, หอพัก, โรงงาน, อพาร์ทเม้นท์, สถานศึกษา, สนามบิน, โรงพยาบาล ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการออกแบบของวิศวกรเครือข่าย โดยผู้ใช้งานเพียงแค่เชื่อมต่อเข้ามาในระบบแล้วทำการ Login โดยสามารถทำได้แบบคูปอง หรือบัตรอินเตอร์เน็ตก็ได้ รองรับอุปกรณ์ Smart Phone, IPhone, IPad, Android, Windows Phone ทุกรุ่น

LINE QR

เพิ่มเพื่อน

easy2wifi

กรุงเทพมหานคร

  • เขตคลองเตย แขวงคลองเตย แขวงคลองตัน แขวงพระโขนง
  • เขตคลองสาน แขวงคลองต้นไทร แขวงคลองสาน แขวงบางลำภูล่าง แขวงสมเด็จเจ้าพระยา
  • เขตคลองสามวา แขวงทรายกองดิน แขวงทรายกองดินใต้ แขวงบางชัน แขวงสามวาตะวันตก แขวงสามวาตะวันออก
  • เขตคันนายาว แขวงคันนายาว
  • เขตจตุจักร แขวงจตุจักร แขวงจอมพล แขวงจันทรเกษม แขวงลาดยาว แขวงเสนานิคม
  • เขตจอมทอง แขวงจอมทอง แขวงบางขุนเทียน แขวงบางค้อ แขวงบางมด
  • เขตดอนเมือง แขวงสีกัน
  • เขตดินแดง แขวงดินแดง
  • เขตดุสิต แขวงดุสิต แขวงถนนนครไชยศรี แขวงวชิรพยาบาล แขวงสวนจิตรลดา แขวงสี่แยกมหานาค
  • เขตตลิ่งชัน แขวงคลองชักพระ แขวงฉิมพลี แขวงตลิ่งชัน แขวงบางเชือกหนัง แขวงบางพรม แขวงบางระมาด
  • เขตทวีวัฒนา แขวงทวีวัฒนา แขวงศาลาธรรมสพน์
  • เขตทุ่งครุ แขวงทุ่งครุ แขวงบางมด
  • เขตธนบุรี แขวงดาวคะนอง แขวงตลาดพลู แขวงบางยี่เรือ แขวงบุคคโล แขวงวัดกัลยาณ์ แขวงสำเหร่แขวงหิรัญรูจี
  • เขตบางเขน แขวงท่าแร้ง แขวงอนุสาวรีย์
  • เขตบางแค แขวงบางแค แขวงบางแคเหนือ แขวงบางไผ่ แขวงหลักสอง
  • เขตบางกอกใหญ่ แขวงวัดท่าพระ แขวงวัดอรุณ
  • เขตบางกอกน้อย แขวงบางขุนนนท์ แขวงบางขุนศรี แขวงบ้านช่างหล่อ แขวงศิริราช แขวงอรุณอมรินทร์
  • เขตบางกะปิ แขวงคลองจั่น แขวงหัวหมาก
  • เขตบางขุนเทียน แขวงท่าข้าม แขวงแสมดำ
  • เขตบางคอแหลม แขวงบางโคล่ แขวงบางคอแหลม แขวงวัดพระยาไกร
  • เขตบางซื่อ แขวงบางซื่อ
  • เขตบางนา แขวงบางนา
  • เขตบางบอน แขวงบางบอน
  • เขตบางพลัด แขวงบางบำหรุ แขวงบางพลัด แขวงบางยี่ขัน แขวงบางอ้อ
  • เขตบางรัก แขวงบางรัก แขวงมหาพฤฒาราม แขวงสี่พระยา แขวงสีลม แขวงสุริยวงศ์
  • เขตบึงกุ่ม แขวงคลองกุ่ม แขวงนวลจันทร์
  • เขตปทุมวัน แขวงปทุมวัน แขวงรองเมือง แขวงลุมพินี แขวงวังใหม่
  • เขตประเวศ แขวงดอกไม้ แขวงประเวศ แขวงหนองบอน
  • เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย แขวงคลองมหานาค แขวงบ้านบาตร แขวงป้อมปราบ แขวงวัดเทพศิรินทร์ แขวงวัดโสมนัส
  • เขตพญาไท แขวงสามเสนใน
  • เขตพระโขนง แขวงบางจาก
  • เขตพระนคร แขวงชนะสงคราม แขวงตลาดยอด แขวงบวรนิเวศ แขวงบางขุนพรหม แขวงบ้านพานถม แขวงพระบรมมหาราชวัง แขวงวังบูรพาภิรมย์ แขวงวัดราชบพิธ แขวงวัดสามพระยา แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ แขวงสำราญราษฎร์ แขวงเสาชิงช้า
  • เขตภาษีเจริญ แขวงคลองขวาง แขวงคูหาสวรรค์ แขวงบางจาก แขวงบางด้วน แขวงบางแวก แขวงบางหว้า แขวงปากคลองภาษีเจริญ
  • เขตมีนบุรี แขวงมีนบุรี แขวงแสนแสบ
  • เขตยานนาวา แขวงช่องนนทรี แขวงบางโพงพาง
  • เขตราชเทวี แขวงถนนเพชรบุรี แขวงถนนพญาไท แขวงทุ่งพญาไท แขวงมักกะสัน เขตราษฎร์บูรณะ แขวงบางปะกอก แขวงราษฎร์บูรณะ
  • เขตลาดกระบัง แขวงขุมทอง แขวงคลองสองต้นนุ่น แขวงคลองสามประเวศ แขวงทับยาว แขวงลาดกระบัง แขวงลำปลาทิว
  • เขตลาดพร้าว แขวงจรเข้บัว แขวงลาดพร้าว
  • เขตวังทองหลาง แขวงวังทองหลาง
  • เขตวัฒนา แขวงคลองเตยเหนือ แขวงคลองตันเหนือ แขวงพระโขนงเหนือ
  • เขตสวนหลวง แขวงสวนหลวง
  • เขตสะพานสูง แขวงสะพานสูง
  • เขตสัมพันธวงศ์ แขวงจักรวรรดิ แขวงตลาดน้อย แขวงสัมพันธวงศ์
  • เขตสาทร แขวงทุ่งมหาเมฆ แขวงทุ่งวัดดอน แขวงยานนาวา
  • เขตสายไหม แขวงคลองถนน แขวงสายไหม แขวงออเงิน
  • เขตหนองแขม แขวงหนองแขม แขวงหนองค้างพลู
  • เขตหนองจอก แขวงกระทุ่มราย แขวงคลองสิบ แขวงคลองสิบสอง แขวงคู้ฝั่งเหนือ แขวงโคกแฝด แขวงลำต้อยติ่ง แขวงลำผักชี แขวงหนองจอก
  • เขตหลักสี่ แขวงตลาดบางเขน แขวงทุ่งสองห้อง
  • เขตห้วยขวาง แขวงบางกะปิ แขวงสามเสนนอก แขวงห้วยขวาง

ต่างจังหวัด

  • ไวไฟ (อังกฤษ: Wi-Fi หรือ WiFi) เป็นเทคโนโลยีที่ได้รับความนิยมที่ช่วยให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแบบไร้สายโดยใช้คลื่นวิทยุ คำ ๆ นี้เป็นเครื่องหมายการค้าของ Wi-Fi Alliance ที่ได้ให้คำนิยามของวายฟายว่าหมายถึง "ชุดผลิตภัณฑ์ใด ๆ ที่สามารถทำงานได้ตามมาตรฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย (แลนไร้สาย) ซึ่งอยู่บนมาตรฐาน IEEE 802.11" อย่างไรก็ตามเนื่องจากแลนไร้สายที่ทันสมัยส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับมาตรฐานเหล่านี้ คำว่า "ไวไฟ" จึงนำมาใช้ในภาษาอังกฤษทั่วไปโดยเป็นคำพ้องสำหรับ "แลนไร้สาย" เดิมทีวายฟายออกแบบมาใช้สำหรับอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ และใช้เครือข่าย LAN เท่านั้น แต่ปัจจุบันนิยมใช้วายฟายเพื่อต่อกับอินเทอร์เน็ต โดยอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ เช่นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เครื่องเล่นเกมส์ โทรศัพท์สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต กล้องดิจิทัลและเครื่องเสียงดิจิทัล สามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่าแอคเซสพอยต์รือ ฮอตสปอต และบริเวณที่ระยะทำการของแอคเซสพอยต์ครอบคลุมอยู่ที่ประมาณ 20 ม.ในอาคาร แต่ระยะนี้จะไกลกว่าถ้าเป็นที่โล่งแจ้ง
  • ภาพของอุปกรณ์ส่งข้อมูลแบบไร้สายไปยังอุปกรณ์อื่นทั้งที่เชื่อมต่อกับแลนไร้สายและเครือข่ายท้องถิ่นใช้สายในการพิมพ์เอกสาร
  • Wi-Fi มีความปลอดภัยน้อยกว่าการเชื่อมต่อแบบมีสาย (เช่น Ethernet) เพราะผู้บุกรุกไม่จำเป็นต้องเชื่อมต่อทางกายภาพ หน้าเว็บที่ใช้ SSL มีความปลอดภัย แต่การใช้อินเทอร์เน็ตที่ไม่ได้เข้ารหัสสามารถจะตรวจพบโดยผู้บุกรุก ด้วยเหตุนี้ Wi-Fi ได้พัฒนาเทคโนโลยีการเข้ารหัสต่าง ๆ มากมาย WEP เป็นการเข้ารหัสรุ่นแรก ๆ พิสูจน์แลัวว่าง่ายต่อการบุกรุก โพรโทคอลที่มีคุณภาพสูงกว่าได้แก่ WPA, WPA2 มีเพิ่มขึ้นมาในภายหลัง คุณลักษณะตัวเลือกที่เพิ่มเข้ามาในปี 2007 ที่เรียกว่า Wi-Fi Protected Setup (WPS) มีข้อบกพร่องร้ายแรงที่ยอมให้ผู้โจมตีสามารถกู้คืนรหัสผ่านของเราเตอร์ได้  Wi-Fi Alliance ได้ทำการปรับปรุงแผนการทดสอบและโปรแกรมการรับรองตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาเพื่อให้แน่ใจว่า อุปกรณ์ที่ได้รับการรับรองใหม่ทั้งหมดสามารถต่อต้านการโจมตีได้
ประวัติ
  • สำหรับรายละเอียดของมาตรฐาน IEEE 802.11 ดู IEEE 802.11
  • วายฟาย หรือ เทคโนโลยีเครือข่ายแบบไร้สาย มาตรฐาน IEEE 802.11 ถือกำเนิดขึ้นในปี ค.ศ. 1997 จัดตั้งโดยองค์การไอทริปเปิ้ลอี (สถาบันวิศวกรรมทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กโทรนิคส์) มีความเร็ว 1 Mbps ในยุคเริ่มแรกนั้นให้ประสิทธิภาพการทำงานที่ค่อนข้างต่ำ ทั้งไม่มีการรับรองคุณภาพของการให้บริการที่เรียกว่า QoS (Quality of Service) และมาตรฐานความปลอดภัยต่ำ จากนั้นทาง IEEE จึงจัดตั้งคณะทำงานขึ้นมาปรับปรุงหลายกลุ่มด้วยกัน โดยที่กลุ่มที่มีผลงานเป็นที่น่าพอใจและได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการว่า ได้มาตรฐานได้แก่กลุ่ม 802.11a, 802.11b และ 802.11g
  • เทคโนโลยี 802.11 มีต้นกำเนิดในปี ค.ศ. 1985 กำหนดขึ้นโดยคณะกรรมการการสื่อสารแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (U.S. Federal Communications Commission) หรือ FCC ที่ประกาศช่วงความถี่สำหรับกิจการด้านอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และการแพทย์ (ISM) สำหรับการใช้งานที่ไม่ต้องมีใบอนุญาต
  • ในปี ค.ศ. 1991 บริษัท เอ็นซีอาร์/เอทีแอนด์ที (ตอนนี้เป็น Alcatel-Lucent และ LSI คอร์ปอเรชั่น) ได้สร้างชุดตั้งต้นของ 802.11 ในเมือง Nieuwegein, เนเธอร์แลนด์ ตอนแรกนักประดิษฐ์ตั้งใจจะใช้เทคโนโลยีนี้สำหรับระบบเก็บเงิน ผลิตภัณฑ์ไร้สายตัวแรกที่นำออกสู่ตลาดอยู่ภายใต้ชื่อ WaveLAN ที่มีอัตราข้อมูลดิบของ 1 Mbit/s และ 2 Mbit/s
  • วิก เฮส์ผู้เป็นประธานของ IEEE 802.11 เป็นเวลา 10 ปีและเรียกว่า "บิดาแห่ง Wi-Fi" ได้มีส่วนร่วมในการออกแบบ 802.11b และ 802.11a มาตรฐานเริ่มต้นภายใน IEEE.
  • นักวิทยุ-ดาราศาสตร์ชาวออสเตรเลียชื่อ จอห์น โอ ซัลลิแวนได้พัฒนาสิทธิบัตรที่สำคัญที่ใช้ใน Wi-Fi ที่เป็นผลพลอยได้ในโครงการวิจัย CSIRO "การทดลองที่ล้มเหลวในการตรวจสอบหาการระเบิดหลุมดำขนาดเล็กที่มีขนาดเท่าหนึ่งอนุภาคอะตอม" ในปี ค.ศ. 1992 และ ปี ค.ศ. 1996 องค์กรของออสเตรเลียชื่อ CSIRO (the Australian Commonwealth Scientific and Industrial Research Organisation) ได้รับสิทธิบัตร สำหรับวิธีการที่ในภายหลังใช้ใน Wi-Fi ในการ "กำจัดรอยเปื้อน"ของสัญญาณ.
  • ในปี ค.ศ. 1999 Wi-Fi Alliance จัดตั้งขึ้นเป็นสมาคมการค้าเจ้าของเครื่องหมายการค้า Wi-Fi ซึ่งผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ที่ใช้ Wi-Fi จะมีเครื่องหมายนี้
  • ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2009 14 บริษัทเทคโนโลยีตกลงที่จะจ่าย 250 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ให้กับ CSIRO สำหรับการละเมิดสิทธิบัตรของ CSIRO สิ่งนี้ทำให้ Wi-Fi กลายเป็นสิ่งประดิษฐ์ ของออสเตรเลีย แม้ว่าจะเป็นเรื่องของการโต้เถียงกันอยู่[9][10] ในปี ค.ศ. 2012 CSIRO ยังชนะคดีและจะได้รับเงินชดเชยเพิ่มเติม 220 ล้าน$ สำหรับการละเมิดสิทธิบัตร Wi-Fi กับบริษัทระดับโลกในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งจะต้องจ่ายค่าลิขสิทธิ์แก่ CSIRO ที่คาดว่าจะมีมูลค่าเพิ่มอีก $ 1 พันล้านดอลลาร์
ที่มาของข้อมูล: https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B9%84%E0%B8%9F